ประกาศยุบบทบาทของกระบวกการใต้ดิน

เมื่อวันที่25กันยายน  ปี 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ประกาศยุบบทบาทของกระบวกการใต้ดิน

สำหรับการดำเนินการเสรีไทยเป็นไปอย่างสะดวกยิ่งขึ้นอาวุธยุทธพันถูกส่งผ่านสนามบินลับนับสิบแห่งทั่วประเทศการฝึกกำลังรบดำเนินไปอย่างเข้มข้นกระทั่งเสรีไทยกลายเป็นกองกำลังที่พร้อมลุกขึ้นสู่กับผู้ที่รุกรานอย่างเปิดเผย

กระบวนการเสรีไทยภายในประเทศที่นำโดย ปรีดี พนมยงค์ แบ่งออกเป็นกว่ายี่สิบสายมีชาวไทยเข้าร่วมกว่า8หมื่นคนโดยคาดว่าสามารถเรียกระดมได้ถึง5แสนคนเมื่อถึงคราวที่จำเป็นการดำเนินงานทั้งหมดเป็นความลับสุดยอดโดยแต่ละคนจะรับรู้แต่ส่วนงานที่ตนนั้นจะต้องรับผิดชอบมีเพียง ปรีดี พนมยงค์ หรือชื่อรหัสรู้เท่านั้นที่สามารถเห็นภาพรวมกระบวนการได้

วันที่ 30เมษายน 2488 นายอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ทำอัตวินิบาตกรรมขณะที่กองทัพสหภาพโซเวียตบุกประชิดกรุงเปรลิน

วันที่ 14สิงหาคม ปี 2488ญี่ปุ่นได้ประกาศวางอาวุธโดยปราศจากเงื่อนไขหลังถูกสหรัฐโจมตีด้วยระเบิดปรมาณูถึงสองลูก 

วันที่16สิงหาคม ปี 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ประกาศสันติภาพการประกาศสงครามระหว่างไทยกับฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นโมฆะ

เนื่องจากคณะผู้สำเร็จราชการในนามในเอกสารไม่ครบถ้วนและการประกาศสงคราม จอมพลป.พิบูลสงคราม เป็นการกระทำที่ฝืนเจตจำนงของชาวไทย

วันที่25กันยายน  ปี 2488 นายปรีดีได้ประกาศยุบบทบาทของกระบวกการใต้ดินที่เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจของชาวไทยตั้งแต่สามัญชนชาวไร่ชาวนาจนถึงเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงกระบวนการที่สามารถหลอมรวมชาวไทยทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกประเทศเข้าด้วยกันอย่างกว้างขวางมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การดำเนินงานกระบวนการเสรีไทยช่วยให้ไทยไม่ต้องสูญเสียอธิปไตยแก่สัมพันธมิตร

ดังเช่นประเทศผู้แพ้สงครามอื่นๆจึงนับว่าเป็นบทบาทที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งอีกครั้งของ นายปรีดี พนมยงค์

ซึ่งทำให้เขาได้รับการยอมรับอย่างสูงสุดในช่วงนี้โดยไม่มีผู้ใดล่วงรู้ว่าเพียง2ปีให้หลังโชคชะตาจะพลิกผันจนต้องอำลาแผ่นดินเกิดไปไม่อาจกลับมาได้ชั่วชีวิต

หลังสงครามโลกครั้งที่2โลกก็ได้ก้าวเข้าสู้ยุคสงครามเย็นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์นำโดยสหภาพโซเวียตและกลุ่มประเทศทุนนิยมนำโดยสหรัฐอเมริกาต่างก็ได้พยายามที่จะแพร่ขยายอิทธิพลทั้งทางเศรษฐกิจทั้งการเมืองครอบคุมไปทั่วโลก

ขณะที่การเมืองไทยในช่วงดังกล่าวมีการขับเคี้ยวกันอย่างดุดเดือดรุนแรงที่สุดเป็นการขับเคี้ยวระหว่างกลุ่มของปรีดี พนมยงค์ และ พรรคสหชีพ 

ซึ่งก็ได้ยึดแนวทางการเมืองแบบเสรีนิยมควบคู่กับระบบเศรษฐกิจของสังคมนิยมสารต่อภาระกิจของคณะราษฎรในทศวรรษก่อนกับกลุ่มอนุรักษ์นิยมที่จะประกอบไปด้วยผู้นิยมระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เจ็บแค้นจากการปฏิวัติ2475ชนชั้นสูงก็ได้หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของสังคมอย่างจริงจังรวมทั้งผู้นิยมลิทธิเผด็จการทหาร

หลังสงครามโลกครั้งที่สอง นายปรีดี พนมยงค์ มีโอกาศที่จะขึ้นสู่อำนาจในช่วงของเวลาสั้นๆและไม่อาจจะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่สังคมอย่างเป็นรูปธรรม

 

สนับสนุนโดย  dewabet