ปราสาทตาเมือน

ปราสาทตาเมือน ซึ่งเป็นศาสตร์สถานประจำธรรมศาลา

ธรรมศาลา คือ ที่พักของนักเดินทางในสมัยนั้นโดยได้มีการสร้างกระท่อมที่พักรวมไปถึงโรงเลี้ยงช้างโรงเลี้ยงม้าแต่สิ่งเหล่านี้ได้มีการผุพังศูนย์สลายไปเกือบหมดเพราะส่วนมากจะเป็นอาคารที่มีไม้มุงหญ้าหลักฐานเดียวที่ยังหลงเหลือให้เห็นอยู่อย่างเด่นได้ชัดของธรรมศาลาจึงมีเพียงอาคารศาสตร์สถาน

ซึ่งได้สร้างขึ้นจากหินทรายและศิลาแลงเป็นอาคารส่เหลี่ยมพื้นผ้าหลังเดี่ยวมีประตูเข้าออกทลุด้านหน้าหลังและได้มีหน้าต่าง5ช่องที่ผนังทางฝั่งขาวทั้งหมดนี้เป็นรูปแบบของสถาปัตย์ที่เรานั้นจะสามารถพบเห็นได้ในเขตดั่งเดิมของธรรมศาลาอื่นๆเช่นกัน ต่อมาห่างจากเขตธรรมศาลาของปราสาทตาเมือนไปไม่ถึงครึ่งกิโลเมตร ที่นั่นคือ อโรคยาศาลา

ที่ได้สร้างขึ้นในสมัยเดียวกันโดยมีปราสาทตาเมือนโต๊ดเป็นศาสตร์สถาน อโรคยาศาลาคือสถานที่ที่ได้สร้างขึ้นมาเพื่อการรักษาพยาบาลกับผู้คนในชุมชนหรือตามลายทางสัญจรของนักเดินทางและผู้ที่จะมาแสวงบุญโดยทุกแห่งจะมีศาสตร์สถานที่ได้สร้างจากผังเดียวกันคือมีปราสาทประทานเป็นศูนย์กลางเอาไว้ใช้ประประดิษฐานรูปเคราพและยังได้มีบรรดาไรอีกหนึ่งหลังเอาไว้ใช้สำหรับเก็บตำรับตำราอาคารทั้งสองได้อยู่ในวงล้อมของกำแพงแก้วที่ได้เว้นซุ้มประตู

เป็นทางเข้าออกที่ด้านหน้าเพียงช่องเดียวและส่วนที่ด้านนอกของกำแพงแก้วจะมีบาลายหรือสระน้ำหนึ่งสระ อักษรที่ได้ค้นพบบนจารึกโบราณมากกว่า10หลักและได้อธิบายในทำนองเดียวกันว่าอโรคยาศาลาในแต่ละแห่งมีบุคคกรอยู่ประมาณ50กว่าคนถึงเกือบ100คน

ซึ่งยังไม่ได้รวมค่าธาตที่ได้ทำงานช่วยเหลือในด้านส่วนอื่นๆสภาวะในปัจจุบันของอโรคยาศาลาก็ไม่ได้ต่างไปจากธรรมศาลา คือได้มี หลีกฐานหลงเหลือให้เห็นก็เพียงแค่ศาสตร์สถานเท่านั้นและสำหรับในส่วนของอาคารด้สนอื่นๆไม่ว่าจะเป็นที่พักแพทย์เจ้าหน้าที่เรือนนอนเรือนเก็บยาห้องปรุงยา

สำหรับอาคารเหล่านี้ลวนได้สร้างมาจากไม้ซึ่งมันก็หน้าจะผุพังลงไปแล้วตามกาลเวลา แต่ยังมีข้อสังเกตอยู่อย่างหนึ่งที่ เกี่ยวกับปราสาทตาเมือนโต๊ดคือได้มีการใช้หินทรายในการสร้างเรือนธาตุของปราสาทประทานและได้ใช้ศิลาแลงในส่วนของยอด ซึ่งมันก็ได้ต่างไปจากศาสตร์สถานของอโรคยาศาลาแห่งอื่นๆ

ที่มักจะใช้แท่งศิลาแลงทั้งหมดและจึงได้มีการสันนิษฐานว่ามันอาจจะเป๋นเพราะปราสาทได้ตั้งอยู่กับแหล่งหินทรายหรือเพราะอโรคยาศาลาแห่งนี้อยู่ไกล้กับเมืองพระนครจึงได้มีความพิถีพิถันในการสร้างมากกว่าในที่อื่นๆ